วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1

วิชา สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

วิชา ระบบฐานข้อมูล MS-Access

ความหมายของฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน
ระบบฐานข้อมูล หมายถึง ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน
รูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) Database Management System หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล เสมือนเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับฐานข้อมูล

บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและดปรแกรม Microsoft Access 2007

ฐานข้อมูล (Database)คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง และข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นต่างมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งในการสร้างตารางเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นสิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรก หรือเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่จะต้องนำไปใช้งานต่อไป
ระบบฐานข้อมูล (Database System)
ระบบฐานข้อมูล คือรบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องป็นเรื่องเดียวกัน โดยมีรูปแบบการจัดเก็บที่เป็นระเบียบแบบแผนและจัดเก็บในที่เดียวกัน
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System:DBMS)
ระบบจัดการฐานข้อมูล คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่เก็บไว้ในฐานข้อมูลเพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้
ประโยชน์ในการใช้ระบบฐานข้อมูล
1.ลดความซ้ำว้อนของข้อมูล เมื่อมีข้อมูลของหน่วยงานซึ่งจัดเก็บไว้หลายที่ อาจมีข้อมูลในส่วนที่เหมือนกันเหลายส่วน เช่น ฝ่ายบัญชี เก็บข้อมุล ชื่อ ที่อยุ่ เบอร์โทรศัพทืของพนักงาน และฝ่ายบุคคล เมื่อนำคอมพิวเตอร์มาใช้จัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในรุปของบานข้อมูล
2.ทำให้เกิดการสอดคล้องของข้อมูล ถ้ามีการแก้ชื่อ ที่อยู่ ที่ฝ่ายบุคคล ชื่อและที่อยู่ที่ฝ่ายบัยชีก็จะถูกเปลี่ยนแปลงด้วย เนื่องจากฝ่ายบัญชีจะดึงข้อมูลชื่อและที่อยู่จากฝ่ายบุคคล ดังนั้นเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลในที่ใดที่หนึ่งก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย
3.ควบคุมความถูกต้องข้อมุล ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถกำหนดกฎเกณฑ์ในการนำเข้าข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล จะคอยควบคุมให้มีการนำเข้าข้อมูลเป็นไปตามกฎเกณฑ์เพื่อให้มีความถูกต้อง
4.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ การเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน จะสามารถกำหนดรูปแบบที่แน่นอนได้
5.มีความปลอดภัย การที่ข้อมูลมารวมอยู่ในที่เดียวกัน สามารถมาตรฐานในการแก้ไขและป้องกันได้ดีกว่า
6.ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน ก่อนที่จะมีการจัดเก็บข้อมูล ต้องมีการตกลงรูปแบบการเก้บอย่างเป็นเอกฉันท์เสียก่อน ทำให้ไม่เสียเวลาในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
7.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย เมื่อข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้รับการดูแลปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นข้อมุลที่มีความทันสมัย ตรงกับเหตุการณ์ปัจจุบัน และตรงกับความต้องการอยู่เสมอ



2. ทำการวัดเเละประเมินผลการผ่านจุดประสงค์
ตอนที่ 1
1. ตอบ ข.
2. ตอบ ก.
3. ตอบ ก.
4. ตอบ ค.
5. ตอบ ข.
6. ตอบ ข.
7. ตอบ ค.
8. ตอบ ก.
9. ตอบ ง.
10.ตอบ ก.
ตอนที่ 2
1. ตอบ ช.
2. ตอบ จ.
3. ตอบ ซ.
4. ตอบ ญ.
5. ตอบ ฌ.
6. ตอบ ก.
7. ตอบ ค.
8. ตอบ ข.
9. ตอบ ง.
10. ตอบ ฉ.
ตอนที่ 3
1.ตอบ ฐานข้อมูล(Database)คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง ข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นมีความสัมพันธ์กัน
2.ตอบ 1.ลดความซับซ้อนของข้อมูล 2.ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล
3.ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล 4.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
5.มีความปลอดภัย
3.ตอบ 1.Table ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
2.Queries ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล
3.Froms แบบฟอร์มในการทำงาน สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง
4.ตอบ ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ว่าต้องใช้ข้อมูลเรื่องใด ใช้เพื่อทำอะไร ต้องการอะไร สอบถามความต้องการจากผู้ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นจัดเป็นกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล กำหนดชนิดข้อมูล กำหนดความสัมพันธ์
5.ตอบ งานทะเบียน เพราะว่าเป็นงานที่ทำเกี่ยวกับประวัติของพนักงานหรือนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมีข้อมูลต่างๆหลายอย่าง



ตอนที่ 1 แบบปรนัย
1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง (Table) ได้ชัดเจนที่สุด
ตอบ ก. ฐานข้อมูลใน Access
2.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ตอบ ง. Attachment เป็นชนิดข้อมูลสาหรับสร้างจุดเชื่อมโยงไปยังไฟล์
3.ฟิลด์ (Field) หมายถึงอะไร
ตอบ ค. คอลัมน์
4.เรคอร์ด (Record) หมายถึงอะไร
ตอบ ข. แถว
5.ชนิดข้อมูลแบบข้อความ (Text) สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
ตอบ ค. 255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆ จะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
ตอบ ก. Memo
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
ตอบ ก. Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
ตอบ ค. 255
9.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถ นามาประกอบในการตั้งชื่อฟิลด์ข้อมูลได้
ตอบ ค. 4 แบบ
10.ถ้าต้องการเรียงลาดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ ก. Ascending

ตอนที่ 2 จับคู่
1. Field ฌ. ข้อมูลในแนวคอลัมน์
2. Record ง. ข้อมูลในแนวแถว
3. Memo จ. เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมาก ๆ
4. OLE Object ข. เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
5. Currency ซ. เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
6. Attachment ญ. เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
7. Input Mask ก. กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
8. Format ฉ. กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
9. Descending ช. เรียงลาดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
10. Ascending ค. เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก

ตอนที่ 3 แบบอัตนัย
1. จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
ตอบ

2. จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก (Primary Key)
ตอบ ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคอร์ดที่ไม่ซ้ำกัน เพื่อเป็นตัวกำหนดให้ทุกเรคอร์ดแตกต่างกันและเป็นฟิลด์ที่ไม่เป็นค่าว่าง คือจะต้องมีค่าอยู่เสมอ เช่นรหัสพนักงาน รหัสประจาตัวนักเรียน เป็นต้น

3. อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (Table Design) และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet View)
ตอบ

4. จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
ตอบ 1. คลิกที่แท็บ Create
2. เลือกปุ่มคาสั่ง (Table Design) ในกลุ่มของ Tables จากนั้น Access จะเปิดตารางข้อมูลเปล่าในมุมมองการออกแบบขึ้นมาให้
3. กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกด Tab เพื่อเลื่อนไปยังช่องถัดไป
4. เลือกชนิดข้อมูล
5. กำหนดคาอธิบายฟิลด์
6. กำหนดคุณสมบัติของฟิลด์เพิ่มเติม จากนั้นทาข้อที่ 3 ถึงข้อที่ 6 จนครบทุกฟิลด์ที่ต้องการ
7. คลิกปุ่ม Save จาก Quick Access เพื่อบันทึกตาราง
8. กำหนดชื่อตาราง
9. คลิกปุ่ม OK
10. จากนั้นจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก (Primary Key) ถ้าคลิกปุ่ม Yes โปรแกรมจะกำหนดฟิลด์ใหม่ขึ้นมาให้ซึ่งเป็นคีย์หลักชื่อว่า ID แต่ถ้าคลิกปุ่ม No จะให้เรากำหนดคีย์หลักเองในภายหลัง ในที่นี้ให้คลิกปุ่ม No
5. ในการสร้างตารางแม่แบบ (Template) มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
ตอบ



บทที่6
ตอนที่ 1
1.เราสามารถนำข้อมูลจากโปรแกรมใดเข้ามาใน Access ได้
ง.ถูกทุกข้อ
2.เราสามารถส่งออกข้อมูล Access ไปไว้ยังโปรแกรมประเภทใดได้บ้าง
ง.ถูกทุกข้อ
3.ข้อใด กล่าวผิด ในเรื่องการเชื่อมโยงตารางข้อมูล
ค.การเชื่อมโยงตารางข้อมุล
4.ในการบีบอัดฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ก.Compact and Repair Database
5.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ข.การกำหนดรหัสผ่านให้ฐานข้อมูลควรเปิดฐานข้อมูลแบบ Only
6.หากต้องการกำหนดรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ก.Encrypt with Password
7.ถ้าต้องการยกเลิกรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ข.Decrypt Database
8.การดูตัวอย่างก่อนพิมพ์สามารำทำได้ ยกเว้นข้อใด
ค.คลิกเลือกมุมมอง Print Preview ในฟอร์ม
9.ถ้าต้องการกำหนดขนาดของกระดาษเป็นแนวนอนจะต้องใช้คำสั่งใด
ข.Landspace
10.ถ้าเข้าสู่การพิมพ์เอกสารสามารถทำได้โดย
ง.ถูกทุกข้อ


ตอนที่ 2
1.Import Database ฉ.นำข้อมูลจาก Excel เข้ามาในโปรแกรม
2.Export Database ข.นำข้อมูลจากAccessไปไว้ในExcel
3.compact and repair database ฌ.ทำให้ฐานข้อมูลมีขนาดเล็กลง
4. Encrypt with Database ช.กำหนดรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูล
5. Decrypt Database ซ.ยกเลิกรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูล
6.Landpace จ.กำหนดกระดาษในแนวนอน
7.Portrain ญ.กำหนดกระดาษในแนวตั้ง
8.Margins ก.กำหนดขอบกระดาษ
9.Size ง.กำหนดขนาดของกระดาษ
10.PrintPreview ค.ดูตัวอย่างก่อนพิมพ์เอกสาร


บทที่ 5 การสร้างรายงาน

ตอนที่ 1
1.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทของรายงาน
ง.Chart
2.มุมมองของรายงานที่เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access2007 คือมุมมองใด
ก.Layout View
3.Page Footer คือส่วนใด
ค.ส่วนที่ต้องการแสดงผลข้อมูลให้ปรากฎอยุ่ที่ส่วนท้ายของทุกๆหน้ารายงาน
4.หลังจากแทรกชื่อเรื่อง (Title) ของรายงานแล้ว จะแสดงพื้นที่ส่วนใดของรายงานให้อัติโนมัติ
ก.Report Header/Footer
5.ผลลัพธ์ในการสร้างรายงานแบบอัตโนมัติจะมีลักษณะของรายงานเป็นแบบใด
ข.Tabular
6.ถ้าต้องการสร้างรายงานโดยให้มีการจัดกลุ่มของข้อมูลด้วย จะต้องสร้างรายงานด้วยวิธีใด
ค.สร้างรายงานด้วยเครื่องมือช่วยสร้าง
7.ถ้าต้องการสรุปข้อมูลในรายงานโดยให้แสดงอยู่ที่ส่วนท้ายสุดของรายงานจะต้องกำหนดที่ตำแหน่งใด
ค.Report Footer
8.ในการป้อนสูตรฟังก์ชั่นจะต้องใช่เครื่องมือใด
ข.Text Box
9.ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล
ง.Avg
10.ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนสูตรฟังก์ชั่นในการหาผลรวมของฟิลด์เงินเดือน
ข.=Sum([Salary])


ตอนที่ 2
1.Columnar Report ซ.แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่าง
2.Tabular Report จ.แสดงข้อมูลทุกเรคอร์ดใน 1 รายการ
3.Label Report ฉ.พิมพ์ป้ายฉลากติดซองจดหมาย
4.Page Header ญ.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงทุกหน้าของรายงาน
5.Report Hrader ข.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงในหน้าแรก
6.Detail ก.ส่วนในการแสดงฟิลด์ข้อมูลที่ดึงมาจากตาราง
7.Pages ช.แสดงเลขหน้าทั้งหมด
8.Page ค.แสดงเลขหน้าปัจจุบัน
9.Sum ง.รวมข้อมูลทั้งหมด
10.Count ฌ.นับจำนวนทั้งหมด

ตอนที่ 3
1.การสร้างรายงานมีกี่แบบ อะไรบ้าง และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
- 3 แบบ
1.รายงานแบบคอลัมน์ (Columnar Report) มีประโยชน์แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคอร์ดจากบนลงล่าง ทีละ 1 เรคอร์ด
2.รายงานแบบตาราง (Tabular Report) มีประโยชน์เป็นรายงานที่แสดงแบบแถวและคอลัมน์ซึ่งจะแสดงข้อมุลทุกเรคคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
3.รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) มีประโยชน์เป็นรายงานที่พิมพ์ฉลากต่างๆ


2.จงบอกถึงส่วนประกอบของรายงาน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อะไร
- ประกอบด้วย 5 ส่วน
1.Report Header เป็นส่วนที่ใช้แสดงข้อความหรือรายเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าแรกของรายงาน
2.Page Header เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน
3.Detail เป็นพื้นที่ในการแสดงข้อมูลที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ทั้งในตารางและแบบสอบถามข้อมูล
4.Page Footer เป็นพื้นที่ในส่วนท้ายของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน
5.Report Footer เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าสุดท้ายของรายงานเท่านั้น
3. จงอธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Report Wizard
1. คลิกที่แท็บ Create
2.คลิกเลือก Report Wizard ในกลุ่มของ Reports
3.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างรายงาน
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม >> เพื่อนเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.เลือกข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียด
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.เลือกฟิลด์ที่ต้องการ แบ่งกลุ่มข้อมูล แล้วคลิกที่ปุ่ม >เพื่อเลือกฟิลด์
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามากให้คลิกที่ปุ่ม Ascendingและคลิกที่ปุ่มDescending ถ้าต้องการเรียนจากมากไปหาน้อย
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12. เลือกรูปแบบตำแหน่งการจัดวางรายงานที่ Layoutและที่Orientationเลือกแนวกระดาษเลือก Portraitสำหรับแนวตั้งและ Landscape สำหรับแนวนอน
13.แล้วคลิกปุ่ม Next>
14.เลือกสไตล์หรือรูปแบบรายงานที่ต้องการ
15.แล้วคลิกปุ่ม Next>
16.ตั้งชื่อรายงานที่ต้องการ และเลือกการแสดงผลรายงานในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขรายงาน
17.แล้วคลิกปุ่ม Finish
4.อธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Label Wizard
1. คลิกที่แท็บ Create
2.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างเลเบล
3.คลิกที่ปุ่ม Labelsในกลุ่มของ Reports จากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เลือกขนาดของเลเบล
4.เลือกขนาดของแถบที่ต้องการ ซึ่งถ้าหารต้องการกำหนดขนาดของเลเบลใหม่ให้คลิกที่ปุ่ม Customize แล้วกำหนดขนาดใหม่
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.กำหนดรูปแบบที่ต้องการแสดง
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดงในเลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกข้อมูล ซึ่งถ้าหากต้องการเว้นวรรคในแต่ละฟิลด์ ให้กดปุ่ม Spacebar ที่แป้นพิมพ์ และถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ก็สามารถกดปุ่ม Enterได้
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับข้อมูลใน เลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกฟิลด์ข้อมูล
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12.ตั้งชื่อรายงานและเลือกการแสดงผล เลเบล ในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขเลเบล
13.แล้วคลิกปุ่ม Finish
5.จงบอกถึงข้อดีและข้อเสียของรายงานแบบอัตโนมัติ
ข้อดี
-สะดวกรวดเร็ว สามารถคำนวณข้อมูลได้ สามารถพิมพ์ออกมาได้
ข้อเสีย
สะดวกรวดเร็ว ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในตารางได้ในขณะที่พิมพ์ออกมาได้แบบฟอร์ม




บทที่4
ตอนที่ 1
1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ประโยชน์ของฟอร์ม
ข.เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
2. รูปแบบของฟอร์ม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ง. 5
3. ถ้าต้องการสร้างฟอร์มโดยให้แสดงข้อมูลฟอร์มในมุมมองฟอร์มและมุมมองแผ่ตารางข้อมูล
จะต้องสร้างด้วยคำสั่งใด
ข. Split Form
4. ถ้าต้องการสร้างฟอร์มโดยให้แสดงข้อมูลในทุกๆ เารคคอร์ดจะต้องใช้การสร้างฟอร์มใด
ค. Multiple Item
5. เลเบล (Label) เป็นเครื่องมือที่ใช้ทำอะไร
ก. ป้อนข้อความ

6. ข้อมูลที่นำมาใช้ในการสร้างฟอร์มมาจากที่ใด
ค.TableหรือQuery
7. Form Header คือส่วนใด
ง.ส่วนที่ต้องการแสดงข้อความหรือรูปภาพในหน้าแรกของฟอร์ม
8. ถ้าต้องการสร้างกล่องรายการให้เลือก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
9. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ส่วนประกอบของฟอร์ม
ข. Section
10.หลังจากที่เพิ่มข้อมูลลงในฟอร์มแล้ว ข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ที่ใด
ก.table

ตอนที่2

1.Columnar Form ช. แสดงข้อมูล 1 เรคคอร์ดต่อ 1 หน้าฟอร์ม
2.Tabular Form ฌ. ฟอร์มที่แสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ด
3.Form Design ง. สร้างฟอร์มด้วยการออกแบบเอง
4.Spirit Form ฉ. แสดงข้อมูลในมุมมองฟอร์มและแผ่นตาราข้อมูล
5.Pivot Chart ซ. วิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ
6.Label ข. พิมพ์ข้อความที่ต้องการแสดง
7.Text Box ญ. ใช้แสดงข้อมูลในฟิลด์และป้อนสูตรคำนวณ
8.Option Group ก. กลุ่มรายการให้เลือก
9.Combo Box จ. กล่องรายการให้เลือกแบบบรรทัดเดียว
10.List Box ค. กล่องรายการให้เลือกแบบหลายบรรทัด



ตอนที่3
1 จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสรางฟอร์ม
ทำให้ผู้ใช้ทำงานกับข้อมูลในตารางได้สะดวกกว่าการใช้มุมมองแผ่นข้อมูล

2 ในการสร้างฟอร์มมีกี่แบบ แต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
5แบบ
1.ฟอร์มคอลัมน์ (Columnar Form)ทำให้เราสามารถสร้างฟอร์มได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
2.ฟอร์มแบบตาราง (Tabular Form)สามารถแสดงข้อมูลได้ทุกเรคอร์ด
3.ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet Form)
4.ฟอร์มแบบตารางสรุปข้อมูลหลายมิติ (Pivot Table Form)
5.ฟอร์มแบบแผนภูมิสรุปข้อมูลหลายมิติ (Pivot Chart Form 3 ส่วนประกอบของฟอร์มมีอะไรบ้าง และแต่ละส่วนมีหน้าที่อย่างไร
1. Form Header
2. Form Footer
3. Page Header
4. Page Footer
5. Detial

4 จงยกตัวอย่างปุ่มเครื่องมือ (Controls) ที่ใช้ในการเพิ่มส่วนประกอบของฟอร์มมา 3ส่วน
ประกอบ พร้อมบอกถึงหน้าที่ในการทำงานของแต่ละส่วนประกอบ
Text Box ใช้แสดงข้อมูลในฟิลด์ป้อนสูตรคำนวณและฟั่งชั่นอื่น
Label ใช้สำหรับพิมพ์ข้อความในฟอร์ม
Botton ปุ่มคำสั่ง

5 จงอธิบายถึงขั้นตอนในการสร้างฟอร์มแบบแผนภูมิ (PivotChart)
1. คลิกที่แท็บสร้าง(Create)
2. คลิกที่ปุ่ม Pivot Chart ในกลุ่มของฟอร์ม
3. คลิกที่พื้นที่ในแผนภูมิ แล้วจะแสดงฟิลด์ รายการข้อมูล (Field List)ให้เลือก
4. คลิกที่ฟิลด์ที่ต้องการ
5. เลือกตำแหน่งที่ต้องการแสดงฟิลด์
6. คลิกปุ่ม Add to เพื่อวางฟิลด์ในตำแหน่งที่เลือก

บทที่ 3

ตอนที่1
1.ข้อใด ไม่ใช่ ความสามารถของคิวรี่
ข.สร้างตารางเก็บข้อมูล
2.แบบสอบถามข้อมูลใดที่นิยมใช้งานมากที่สุด
ก.Select Query
3.ถ้าต้องการปรับเพิ่มเงินเดือนให้กับพนักงานคนละ 10 เปอเซ็นต์เท่าๆกัน จะต้องใช้แบบ
สอบถามข้อมูลแบบใด
ง.Updaya Query
4.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์
ค.>
5.โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้แทนตัวอักขระใดๆ
ก.*
6.โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้ในการเชื่อมข้อความ
ง.&
7.ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในแบบสอบถามข้อมูล จะต้องกำหนดที่บรรทัดใด
ค.Criteria
8.ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในการค้นหาพนักงานที่มีเดือนตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป จะ
ง.>=50000
9.ข้อใดคือรูปแบบในการสร้างฟิลด์ใหม่
ข.ชื่อฟิลด์ใหม่ : ฟิลด์คำนวณ
10.ข้อใดต่อไปนี้คือสูตรในการหาภาษี 5%
ข.Tax : [Salary]*0.05
ตอนที่2
1. Select Query >>> ฉ.ใช้สอบถามข้อมุลตามเงื่อนไข
2. Crosstab Query >>> ซ.ใช้สอบถามข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์
3. Updata Query >>> จ.ใช้ปรับปรุงข้อมูลตามเงื่อนไข
4. Append Query >>> ข.ใช้ในการเพิ่มข้อมุลต่อท้ายตารางเดิม
5. Delete Query >>> ฌ.ใช้ในการลบข้อมุลตามเงื่อนไข
6. Criteria >>> ก.กำหนดเงื่อนไขในการค้นหาข้อมูล
7. Like >>> ค.ใช้ตรวจสอบอักขระว่าตรงกับที่กำหนดหรือไม่
8. In >>> ญ.ใช้ในการกำหนดว่าค่าใดบ้างตรงกับค่าในรายการ
9. Find Duplicates Query Wizard >>> ช.ค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตาราง
10 Find Unmatched Query Wizard >>> ง.ค้นหาข้อมุลที่ไม่ซ้ำกันใน 2 ตาราง
ตอนที่3
1.จงบอกถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างแบบสอบถามข้อมูลหรือคิวรี่
ช่วยในการสอบถามข้อมูลในตารางวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล
2.จงบอกขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยมุมมองการออกแบบ1.คลิกเลือกแท็บสร้าง
2.คลิกที่ปุ่ม Query Design
3.คลิกเลือกชื่อตาราง
4.คลิกปุ่ม เพิ่ม
5.คลิกปุ่ม ปิด
6.คลิกเลือกชื่อฟิลด์ที่ต้องการจนครบทุกฟิลด์
7.คลิกที่ มุมมองแผ่นข้อมูลเครื่องมือช่วยสร้าง
3.การสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยเครื่องมือช่วยสร้าง (Query Wizard) มีกี่แบบ และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
Query Wizard มี 4 แบบ คือ
1.Simple Wizard สามารถสร้างแบบสอบถามด้วยเครื่องมือง่ายๆ
2.Crosstad Query สามารถแสดงข้อมูลในรูปแบบกราฟและในลักษณะตารางไขว้
3.Find Duplicates Query สามารถค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตาราง
4.Find Unmatched Query สามารถค้นหาข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันในตาราง
4.จงอธิบายขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วย Simple Query Wizard

1.คลิกที่แท็บ สร้าง
2.คลิกที่ปุ่มตัวช่วยสร้างแบบสอบถาม
3.เลือกแบบสอบถามข้อมูลอย่างง่าย
4.คลิก ตกลง
5.เลือกชื่อตาราง
6.เลือกชื่อฟิลด์ที่ต้องการ
7.คลิกปุ่ม ถัดไป
8.ตั้งชื่อแบบสอบถามข้อมูล
9.คลิก เสร้จสิ้น
5.จงอธิบายความหมายและหลักการสร้างแบบสอบถามข้อมูล Crossta Query Wizard
เป็นการสร้างแบบสอบถามข้อมูลที่สอบถามความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์ 2 ฟิลด์หรือมากกว่า

24 มิถุนายน 2554

ตอนที่1 แบบ ปรนัย
1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง (Table) ได้ชัดเจนที่สุด
ตอบ ก. ฐานข้อมูลใน Access
2.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ตอบ ง. Attachment เป็นชนิดข้อมูลสาหรับสร้างจุดเชื่อมโยงไปยังไฟล์
3.ฟิลด์ (Field) หมายถึงอะไร
ตอบ ค. คอลัมน์
4.เรคอร์ด (Record) หมายถึงอะไร
ตอบ ข. แถว
5.ชนิดข้อมูลแบบข้อความ (Text) สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
ตอบ ค. 255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆ จะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
ตอบ ก. Memo
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
ตอบ ก. Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
ตอบ ค. 255
9.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถ นามาประกอบในการตั้งชื่อฟิลด์ข้อมูลได้
ตอบ ค. 4 แบบ
10.ถ้าต้องการเรียงลาดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ ก. Ascending

ตอนที่ 2 จับคู่
1. Field ฌ. ข้อมูลในแนวคอลัมน์
2. Record ง. ข้อมูลในแนวแถว
3. Memo จ. เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมาก ๆ
4. OLE Object ข. เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
5. Currency ซ. เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
6. Attachment ญ. เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
7. Input Mask ก. กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
8. Format ฉ. กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
9. Descending ช. เรียงลาดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
10. Ascending ค. เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก


ตอนที่ 3 แบบอัตนัย
1. จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
ตอบ การสร้างตาราง ลงใน เว็บเพจมีประโยชน์มหาศาล เราสามารถ ประยุกต์ นำไปใช้ได้หลายอย่าง เพื่อเป็นการเพิ่มสีสันความสวยงามของเว็บเพจ การสร้างตาราง ในเว็บเพจก็ไม่แตกต่างจากการสร้างตารางบนแผ่นกระดาษทั่ว ๆ ไป เราเคยทำตารางอย่างไร ก็สามารถสั่งให้เว็บเพจของเรา ทำอย่างนั้นได้ เช่นกัน ต่างกันที่ว่าในเว็บเพจเราไม่สามารถที่จะ นำเอาปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด หรืออุปกรณ์ สำหรับเขียนตารางเข้าไปเขียนบนจอภาพได้ เราใช้ นิ้วมือของเรา เป็นผู้พิมพ์คำสั่ง สำหรับสร้างตารางขึ้นมา


2. จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก (Primary Key)
ตอบ ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคอร์ดที่ไม่ซ้ำกัน เพื่อเป็นตัวกำหนดให้ทุกเรคอร์ดแตกต่างกันและเป็นฟิลด์ที่ไม่เป็นค่าว่าง คือจะต้องมีค่าอยู่เสมอ เช่นรหัสพนักงาน รหัสประจาตัวนักเรียน เป็นต้น


3. อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (Table Design) และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet View)
ตอบ มุมมองแผ่นข้อมูล เป็นมุมมองที่แสดงข้อมูลจากตาราง ฟอร์ม แบบสอบถาม วิว หรือ Stored Procedure ในรูปแบบของแถวและคอลัมน์ในมุมมองแผ่นข้อมูล คุณสามารถแก้ไขเขตข้อมูล เพิ่มและลบข้อมูล และค้นหาข้อมูลได้
มุมมองออกแบบ เป็นมุมมองที่แสดงการออกแบบของวัตถุฐานข้อมูลต่อไปนี้ ได้แก่ ตาราง แบบสอบถาม ฟอร์ม รายงาน และแมโคร ในมุมมองออกแบบคุณสามารถสร้างวัตถุฐานข้อมูลใหม่และปรับเปลี่ยนการออกแบบของวัตถุที่มีอยู่แล้วได้


4. จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
ตอบ 1. คลิกที่แท็บ Create
2. เลือกปุ่มคาสั่ง (Table Design) นกลุ่มของTablesจากนั้น Access จะเปิดตารางข้อมูลเปล่าในมุมมองการออกแบบขึ้นมาให้
3. กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกด Tab เพื่อเลื่อนไปยังช่องถัดไป
4. เลือกชนิดข้อมูล
5. กำหนดคาอธิบายฟิลด์
6. กำหนดคุณสมบัติของฟิลด์เพิ่มเติม จากนั้นทาข้อที่ 3 ถึงข้อที่ 6 จนครบทุกฟิลด์ที่ต้องการ
7. คลิกปุ่ม Save จาก Quick Access เพื่อบันทึกตาราง
8. กำหนดชื่อตาราง
9. คลิกปุ่ม OK
10. จากนั้นจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก (Primary Key) ถ้าคลิกปุ่ม Yes โปรแกรมจะกำหนดฟิลด์ใหม่ขึ้นมาให้ซึ่งเป็นคีย์หลักชื่อว่า ID แต่ถ้าคลิกปุ่ม No จะให้เรากำหนดคีย์หลักเองในภายหลัง ในที่นี้ให้คลิกปุ่ม No
5. ในการสร้างตารางแม่แบบ (Template) มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
ตอบ

วิชา การโปรแกรมเว็บ 1

แบบฝึกหัดบทที่ 1
ตอนที่ 1 จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่าง
1.อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกกันสั้นๆ คือ
- เน็ต
2.ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ตมีลักษณะอย่างไร
- ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์
3.”ไคลเอนท์-เซิฟเวอร์” (Client-server) คืออะไร
- มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าเป็นเซร์ฟเวอร์
4.ชื่อที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเทอร์ที่ใช้ในอินเตอร์เน็ตเรียกกันว่าอย่างไร พร้อมยกตัวอย่าง
- “ไอพี แอดเดรส” เช่น ระบบไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์ในอินเทอร์เน็ต และไอพีแอดเดรส
5. บอกประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตมาอย่างน้อย 5 อย่าง
- คือ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกันได้ทั่วโลกทำให้เกิดความสะดวกในการเผยแพร่ข่าวสารต่างๆ
6.ยกตัวอย่างภัยจากอินเทอร์เน็ตที่มีต่อเยาวชนไทยในปัจจุบันมา 3 ข้อ
- 1.สื่อลามกผ่านอินเทอร์เน็ต 2.การแชทสนทนาผ่านทางอินเทอร์เน็ต 3.การติดเกมณ์ออนไลน์
7. เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Webหรือ WWW หรือ W3) คืออะไร
- คือ เว็บ สามารถให้บริการข้อมูลได้ทั้งในรูปแบบข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง รวมทั้งวีดีโอ
8. รูปแบบของ FTP แบ่งได้เป็นกี่แบบอะไรบ้าง(World Wide Web
- 1. Download คือ การคัดลอกข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์
2. Upload คือ การคัดลอกข้อมูลในเครื่องของผู้ใช้ไปไว้ที่เซิร์ฟเวอร์
9. เว็บราวเวอร์ (Wed Browser) หมายถึงอะไร
- คือ โปรแกรมที่ใช้เปิดเว็บเพจ หรือเรียกสั้นๆว่า “บราวเวอร์”
10.URL (Uniform Resource Locator) คืออะไร ยกตัวอย่างรูปแบบ URL
- การเข้าถึงข้อมูลใดๆในอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นเว็บเพจ หรือไฟล์ประเภทอื่นๆจะต้องรู้ที่อยู่ของข้อมูลนั้น

ตอนที่ 2 จงทำเครื่องหมายกากบาท ลงหน้าข้อทีถูกต้องที่สุด
1. “ไอพีแอดเดรส” ในอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนข้อใด
ค เลขที่บ้าน ง.
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ตรงกับข้อใด
ข.เครื่องแม่ข่าย
3.ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต
ข.ส่งพัสดุภัณฑ์
4. เวิลด์ไวด์เว็บเป็นแหล่งข้อมูลขนาดยักษ์จะพบข้อมูลประเภทใดบ้าง
ก.เว็บไซต์รวบรวมลิงค์ไปยังเว็บไซต์อื่น
5. ชื่อที่อยู่ของ E-mail เรียกกันว่าอย่างไร
ค. E-mail Address
6. FTP ย่อมาจากข้อได
ง. File Transfer Protocol
7. ข้อใดคือความหมายของ FTP
ค. การโอนย้ายข้อมูล

8. การคัดลอกข้อมูลมาจากเซิร์ฟเวอร์มายังเครื่องผู้ใช้หมายถึงอะไร
ข. Download
9. การคัดลอกข้อมูลในเครื่องของผู้ใช้ไปไว้ที่เซิร์ฟเวอร์ หมายถึงข้อใด
ก. Upload
10.ข้อใดหมายถึงการให้บริการแบบทางไกล
ค. Remote
11.เว็บเพจ (web Page) หมายถึงข้อใด
ข.ไฟล์ 1 ไฟล์ คือเว็บเพจ 1หน้า
12.เว็บไซต์ (Web Site) หมายถึงข้อใด
ก.กลุ่มของเว็บเพจหลายหน้า
13. โฮมเพจ (Homepage) หมายถึงข้อใด
ค.เว็บเพจหน้าแรก
14.เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web server) คือข้อใด
ง.ทำหน้าที่เก็บเว็บไซต์
15. ข้อใดคือหน้าที่หลักของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
ก. เป็นตัวแปลคำสั่งของไฮเปอร์เท็กซ์

วิชาการออกแบบและพัฒนาเว็บ

แบบฝึกหัดบทที่ 1

เค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout) ริบบอนเค้าโครงหน้ากระดาษ เกี่ยวกับการออกแบบหน้าเอกสาร ชุดรูปแบบเปลี่ยนการออกแบบโดยรวมของเอกสารรวมถึงสี แบบอักษร และลักษณะพิเศษ


ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Office Word 2007
หน้าแรก (Home) จะปรากฏริบบอนรวมเครื่องมือที่ใช้งานบ่อย ๆ เช่น การจัดหน้า เอกสาร รูปแบบตัวอักษรเป็นต้น

แทรก (Insert) ริบบอนแทรก จะรวมริบบอนเกี่ยวกับการแทรกรูปภาพหรือเลขหน้าลงในเอกสาร แทรกสมการคณิตศาสตร์ เป็นต้น


เค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout) ริบบอนเค้าโครงหน้ากระดาษ เกี่ยวกับการออกแบบหน้าเอกสาร ชุดรูปแบบเปลี่ยนการออกแบบโดยรวมของเอกสารรวมถึงสี แบบอักษร และลักษณะพิเศษ

การอ้างอิง (References) ริบบอนเกี่ยวกับการจัดหน้าหรือเพิ่มหน้าสารบัญลงในเอกสาร

การส่งจดหมาย (Mailings) ริบบอนเกี่ยวกับสร้างและพิมพ์ซองจดหมาย ป้ายชื่อ และสร้างจดหมายเวียน เป็นต้น


ตรวจทาน (Review) ริบบอนเกี่ยวกับการตรวจสอบเอกสาร เช่น การตรวจคำผิด การใส่ข้อคิดเห็นและการป้องกันเอกสาร

มุมมอง (View) ริบบอนเกี่ยวกับมุมมองการแสดงเอกสารของโปรแกรม Word 2007 เช่น การตั้งค่ามุมมองเอกสาร การย่อหรือขยายเอกสาร หรือการแสดงแมโคร


งานออกแบบเว็บไซต์



วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.จงอธิบายวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างละเอียด

ตอบ ... มนุษย์มีการใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยี ต่างๆเพื่อการสื่อสารมาเป็นเวลานานนับพันปี จากภาพที่ 1 จะเห็นว่า ในระยะแรกนั้น มนุษย์ใช้เทคโนโลยีที่ประดิษฐ์ขึ้นจากธรรมชาติ เช่น แผ่นปาปีรัส การตีกลอง การเป่าเขาสัตว์ จนกระทั่งมีการประดิษฐ์หนังสือพิมพ์ขึ้นประมาณ 59 ปีก่อนคริสตกาล การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์เริ่มต้นขึ้นเมื่อมีการส่งสัญญาณ โทรเลขในปี ค.ศ. 1838 และการเกิดขึ้นของวิทยุกระจายเสียงใน ค.ศ. 1848 ในขณะเดียวกันนักประดิษฐ์ส่วนหนึ่งก็กำลังพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ขึ้นมา แต่ยังไม่สามารถนำมาใช้งานได้ทั่วไป สื่อโทรทัศน์เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1927 และช่วงทศวรรษที่ 1960s (ระหว่าง ค.ศ. 1960 – 1969) คอมพิวเตอร์ก็ถูกนำมาใช้แพร่หลายมากขึ้น และมีการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายในเวลาต่อมา เทคโนโลยีที่เรียกกันว่าเป็นสื่อสมัยใหม่อย่างอินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1983 และกลายเป็นเทคโนโลยีที่ปฏิวัติโลกการสื่อสารเลยทีเดียว

ในส่วนของเทคโนโลยีโทรศัพท์ไร้สายนั้น ยุคแรกของโทรศัพท์ไร้สายอยู่ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980s (ระหว่าง ค.ศ. 1980 – 1989) เทคโนโลยีโทรศัพท์มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วพร้อมศักยภาพที่สูงขึ้น ก้าวไปสู่โทรศัพท์ยุคที่ 2 และ 3 และ 4 ซึ่งทำให้คนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้รวดเร็วทันใจ ด้วยเทคโนโลยีที่มีคุณสมบัติในการเคลื่อนที่ได้ (mobility) ตลอดเวลา สามารถรับส่งข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ หรือรับฟังรายการวิทยุและรับชมรายการโทรทัศน์ได้จากโทรศัพท์ที่อยู่ในมือเรา เท่านั้น


2. จงระบุองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตอบ ... องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจกล่าวได้ว่าประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลัก คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม สำหรับรายละเอียดพอสังเขปของแต่ละเทคโนโลยีมีดังต่อไปนี้คือ

1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจำข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบัติตามคำสั่งที่บอก เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ คอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์นี้จะต้องทำงานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือที่เรียก กันว่า ซอฟต์แวร์ (Software) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2546: 4)

ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ

อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น แผงแป้นอักขระ (Keyboard), เมาส์, เครื่องตรวจกวาดภาพ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เครื่องอ่านบัตรแถบแม่เหล็ก (Magnetic Strip Reader), และเครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader)

อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Output) เช่น จอภาพ (Monitor), เครื่องพิมพ์ (Printer), และเทอร์มินัล

หน่วยประมวลผลกลาง จะทำงานร่วมกับหน่วยความจำหลักในขณะคำนวณหรือประมวลผล โดยปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการดึงข้อมูลและคำสั่งที่เก็บไว้ไว้ในหน่วยความจำหลักมาประมวลผล

หน่วยความจำหลัก มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่มาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพื่อใช้ในการคำนวณ และผลลัพธ์ของการคำนวณก่อนที่จะส่งไปยังอุปกรณ์ส่งข้อมูล รวมทั้งการเก็บคำสั่งขณะกำลังประมวลผล

หน่วยความจำสำรอง ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมขณะยังไม่ได้ใช้งาน เพื่อการใช้ในอนาคต

3.คุณลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดีมีอะไรบ้าง

ตอบ ... 1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) 2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) 3. ความสมบูรณ์ (Completeness) 4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) 5. ตรวจสอบได้ (Verifiability)

4. จงบอกประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศมาอย่างน้อย 5 อย่าง

ตอบ .. 1.ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 2.สามารถจัดการสารสนเทศเหล่านั้นในลักษณะเชิงระบบ 3.สามารถจ่ายเงินซื้อสินค้าด้วยบัตรเครดิต เบิกเงินด้วยบัตรเอทีเอ็ม การโอนย้ายข้อมูลในลักษณะอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวข้องกับ 4.ช่วยให้มนุษย์มีความสะดวกสบายขึ้น 5.-ช่วยประหยัดเวลา
-ช่วยในการทำงาน

5. จงบอกภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศความความเข้าใจ

ตอบ... อันตรายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศได้ก้าวเข้ามาใน ชีวิตประจำของมนุษย์มากขึ้น ทั้งในระดับบุคคลจนถึงองค์กร และระดับชาติ เนื่องจากเป็นที่ยอมรับกันดีเกี่ยวกับประโยชน์ต่างๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่สิ่งใดก็ตามไม่ใช่มีเฉพาะด้านดีเพียงด้านเดียว เทคโนโลยีสารสนเทศก็เช่นกัน ย่อมมีผลกระทบต่อมนุษย์และองค์กรในด้านร้ายได้เช่นกัน โดยส่วนมากอันตรายจากไอที มักจะเกี่ยวข้องกับ
การขัดขวางการใช้ไอทีในเวลาที่ต้องการใช้งาน
การริดรอนระบบสารสนเทศ
การสร้าง/ส่งข้อมูลลวง
การล้วงข้อมูลมาใช้งาน
ซึ่ง อันตรายดังกล่าวมีผลกระทบได้ตั้งแต่ระดับเล็ก จนถึงระดับชาติได้ ทั้งนี้การกระทำดังกล่าวสามารถกระทำได้ทั้งจากระดับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบการติดต่อสื่อสาร และบุคคลภายในองค์กรนั้นๆ โดยสามารถสรุปรูปแบบการก่อเหตุให้เกิดอันตรายได้ดังนี้
ผู้ใช้เถื่อน - ได้แก่ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิในการเข้าถึงและใช้งานระบบ แต่อาศัยความสามารถพิเศษทางด้านเทคโนโลยีทำการเจาะระบบป้องกันต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะลักลอบล้วงข้อมูล ทั้งที่เป็นความลับและไม่ใช่ความลับ และอาจจะก่อความเสียหายให้กับข้อมูลทั้งการเปลี่ยนแปลงข้อมูล จนถึงการลบข้อมูล และการทำลายระบบ
ผู้ใช้ภายในระบบ - ได้แก่ผู้ใช้ที่มีสิทธิในระดับ แต่เป็นสายหรือทำตัวเป็นผู้ก่อการร้ายเสียเอง

6.ปัจจัยที่ทำให้เกิความล้มเหลวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้

ตอบ ... เกิดจากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์การ มีสาเหตุหลัก 3 ประการ ได้แก่

1. การขาดการวางแผนที่ดีพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนจัดการความเสี่ยงไม่ดีพอ ยิ่ง

องค์การมีขนาดใหญ่มากขึ้นเท่าใด การจัดการความเสี่ยงย่อมจะมีความสำคัญมากขึ้นเป็นเงา

ตามตัว ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านนี้เพิ่มสูงขึ้น

2. การนำเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ใน

องค์การจำเป็นต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจหรืองานที่องค์การดำเนินอยู่

หากเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่สอดรับกับความต้องการขององค์การแล้วจะทำให้เกิดปัญหา

ต่าง ๆ ตามมา และเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณโดยใช่เหตุ

3. การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง การที่จะนำเทคโนโลยีสารสนเทศ

เข้ามาใช้งานในองค์กร หากขาดซึ่งความสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงแล้วก็ถือว่าล้มเหลว

ตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มต้น การได้รับความมั่นใจจากผู้บริหารระดับสูงเป็นก้าวย่างที่สำคัญและจำ

เป็นที่จะทำให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์การประสบความสำเร็จ

สำหรับสาเหตุของความล้มเหลวอื่น ๆ ที่พบจากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เช่น

ใช้เวลาในการดำเนินการมากเกินไป (Schedule overruns)

นำเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยหรือยังไม่ผ่านการพิสูจน์มาใช้งาน (New or unproven technology)

ประเมินแผนความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไม่ถูกต้อง

ผู้จัดจำหน่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Vendor) ที่องค์การซื้อมาใช้งานไม่มีประสิทธิภาพและขาดความรับผิดชอบ

ระยะเวลาของการพัฒนาหรือนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จนเสร็จสมบูรณ์ใช้เวลาน้อยกว่าหนึ่งปี



นอกจากนี้ ปัจจัยอื่น ๆ ที่ทำให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ไม่ประสบความสำเร็จในด้าน

ผู้ใช้งานนั้น อาจสรุปได้ดังนี้ คือ

1. ความกลัวการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ผู้คนกลัวที่จะเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวม

ทั้งกลัวว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะเข้ามาลดบทบาทและความสำคัญในหน้าที่การงานที่รับผิด

ชอบของตนให้ลดน้อยลง จนทำให้ต่อต้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

2. การไม่ติดตามข่าวสารความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจาก

เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก หากไม่มั่นติดตามอย่างสม่ำเสมอแล้วจะทำให้

กลายเป็นคนล้าหลังและตกขอบ จนเกิดสภาวะชะงักงันในการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

3. โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ทั่วถึง ทำให้ขาดความ

เสมอภาคในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเกิดการใช้กระจุกตัวเพียงบางพื้นที่ ทำให้เป็น

อุปสรรคในการใช้งานด้านต่าง ๆ ตามมา เช่น ระบบโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ฯลฯ

วันอาทิตย์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว


ชื่อ นางสาวอรไท
นามสกุล ดอกยี่สุ่น
เกิดวันที่ 9 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ 2535
ที่อยู่ปัจจุบัน 29/33 สามแยกรอรัก ซ.ต้นไทร แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กทม. 10150
เบอร์โทรศัพท์ 088-620-3390
บิดาชื่อ นายนวล ดอกยี่สุ่น              เบอร์โทรศัพท์ 081-173-9683
มารดาชื่อ นางหวาน ดอกยี่สุ่น          เบอร์โทรศัพท์  088-247-8143